
 |

 |
  |
|
 |
|
|
เริ่มนับ วันที่ 8 พ.ย. 2559 |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
บ้านยางขาวเดิมชื่อ “บ้านท่าเกวียน” ในสมัยนั้นเป็นที่ค้าขายข้าว มีต้นยางใหญ่ให้ร่มเงา ชาวบ้านนำข้าวใส่เกวียนมาขายที่ท่าเรือ ซึ่งมีเรือมารับซื้อข้าว ชาวบ้านจึงเรียกว่า “บ้านท่าเกวียน” ต่อมาตลิ่งถูกน้ำกัดเซาะพังทลายเข้ามาเรื่อยๆ จนถึงต้นยางใหญ่ ชาวเรือชาวแพ ผ่านไปผ่านมาเห็นต้นยางใหญ่ ตระหง่านอยู่ริมน้ำเปลือกของต้นยาง มีลักษณะของสีขาวนวล ผู้คนจึงเรียกว่า “บ้านยางขาว” ภายหลังต้นยางนั้นได้ถูกน้ำกัดเซาะตลิ่งโค่นลงน้ำไป แต่ก็ยังใช้ชื่อหมู่บ้านยางขาวมาจนถึงทุกวันนี้ |
|

 |
|
|
|
หน่วยการปกครองเป็นการปกครองแบบท้องถิ่น ได้มีการยกฐานะจาก “สภาตำบลตำบลยางขาว” เป็นองค์การบริหารส่วนตำบลยางขาว ตั้งแต่ปี พ.ศ.2540 ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย ซึ่งมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2540 เป็นต้นมา |
|
 |
|
|
|
องค์การบริหารส่วนตำบลยางขาว ตั้งอยู่ที่หมู่ที่ 3 บ้านยางขาว ตำบลยางขาว อำเภอพยุหะคีรี จังหวัดนครสวรรค์ ห่างจากอำเภอพยุหะคีรีระยะทางประมาณ 24 กิโลเมตร มีพื้นที่ประมาณ 36 ตารางกิโลเมตร หรือ 25,999 ไร่ |
|
 |
|
|
|

 |
ต้นไม้ หมายถึง ต้นยางเปลือกสีขาว |

 |
รวงข้าว หมายถึง ความอุดมสมบูรณ์ของพื้นที่ในตำบล |

 |
อักษรย่อ องค์การบริหารส่วนตำบลยางขาว อยู่เหนือตราสัญลักษณ์ |
|
|
 |
|
|
|
|
 |
ทิศเหนือ |
ติดต่อกับ |
ต.โกรกพระ |
อ.โกรกพระ |
จ.นครสวรรค์ |
 |
|
ทิศใต้ |
ติดต่อกับ |
ต.น้ำทรง |
อ.พยุหะคีรี |
จ.นครสวรรค์ |
|
 |
ทิศตะวันออก |
ติดต่อกับ |
ต.ย่านมัทรี |
อ.พยุหะคีรี |
จ.นครสวรรค์ |
 |
|
ทิศตะวันตก |
ติดต่อกับ |
ต.เนินกว้าว
ต.เนินแจง |
อ.โกรกพระ อ.เมือง |
จ.นครสวรรค์ และ
จ.อุทัยธานี |
|
|
|
    |
|
  |
|
|
ตำบลยางขาวมีลักษณะเป็นที่ราบลุ่มและทุ่งนาที่ราบ มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านทาง ด้านทิศตะวันออกตั้งแต่หมู่ที่ 1 บ้านตานิวถึงหมู่ที่ 7 บ้านท่าโก เป็นแนวเขตกันระหว่างตำบลย่านมัทรี และตำบลยางขาว พื้นที่ริมแม่น้ำหมู่ที่ 1 และหมู่ที่ 2 ใช้ทำการเกษตรปลูกพืชไร่ พืชสวน และพืชผักสวนครัว ก่อนเข้าเป็นพื้นที่ตั้งบ้านเรือน ทางด้านทิศเหนือ ทิศตะวันตกและทิศใต้ เป็นพื้นที่ราบใช้ประโยชน์ในการทำนา โดยจะได้รับน้ำจากระบบชลประทานตลอดพื้นที่ |
|
 |
|
|
|
อาชีพหลัก คือ เกษตรกร (ทำนา, ทำไร่, ทำสวน) และทำประมง |
อาชีพเสริม คือ ค้าขาย รับจ้าง |
|
 |
|
|
   |
|
|
จำนวนประชากรทั้งหมด 3,907 คน แยกเป็น |

 |
ชาย จำนวน 1,876 คน |
คิดเป็นร้อยละ 48.02 |

 |
หญิง จำนวน 2,031 คน |
คิดเป็นร้อยละ 51.98 |
จำนวนครัวเรือนทั้งหมด 1,273 ครัวเรือน |
ความหนาแน่นเฉลี่ย 108.53 คน/ตารางกิโลเมตร |
|
|
 |
|
|
|
 |
หมู่ที่ |
ชื่อหมู่บ้าน |
จำนวนประชากร |
ชาย |
หญิง |
รวม |
|
จำนวน
ครัวเรือน |
 |
|
1 |
|
บ้านตานิว |
71 |
97 |
168 |
59 |
|
 |
2 |
|
บ้านหาดสะแก |
130 |
126 |
256 |
76 |
 |
|
3 |
|
บ้านมะขามเทศ |
146 |
181 |
327 |
112 |
|
 |
4 |
|
บ้านมะขามเอน |
193 |
198 |
391 |
102 |
 |
|
5 |
|
บ้านยางขาว |
168 |
179 |
347 |
102 |
|
 |
6 |
|
บ้านยางขาว |
172 |
200 |
372 |
117 |
 |
|
7 |
|
บ้านท่าโก |
584 |
591 |
1175 |
382 |
|
 |
8 |
|
บ้านดอนกระชาย |
231 |
269 |
500 |
200 |
 |
|
9 |
|
บ้านดอนกระชายใหม่ |
181 |
190 |
371 |
123 |
|
 |
|
|
รวม |
1,876 |
2,031 |
3,907 |
1,273 |
 |
|
ข้อมูลทะเบียนอำเภอพยุหะคีรี ณ เดือนพฤษภาคม พ.ศ.2559 |
|
  |
|
|
|
|
|
|